เกี่ยวกับเรา

โครงการนี้จัดทำขึ้นมาเพื่อสร้างศักยภาพกับองค์ชุมชนฯและส่งเสริมนวัตกรรมระบบเกษตรกรรมยั่งยืน รวมถึงสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชนและนโยบายการประกันภัยความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

สหภาพยุโรป
สหภาพยุโรป

ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรป ( European Union ) ให้ดำเนินงานโครงการสร้างการปรับตัวที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้วยระบบเกษตรยั่งยืน ในระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ.2563-2566)

มูลนิธิรักษ์ไทย
มูลนิธิรักษ์ไทย

มูลนิธิรักษ์ไทย ( Raks Thai Foundation : RTF) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรป ( European Union ) ให้ดำเนินงานโครงการสร้างการปรับตัวที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้วยระบบเกษตรยั่งยืน ในระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ.2563-2566)

มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน(ประเทศไทย)
มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน(ประเทศไทย)

มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย) (Sustainable Agriculture Foundation Thailand) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรป ( European Union ) ให้ดำเนินงานโครงการสร้างการปรับตัวที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้วยระบบเกษตรยั่งยืน ในระยะเวลา 4 ปี (พ.ศ.2563-2566)

พื้นที่เรียนรู้

พื้นที่โครงการ 12 ตำบล

พื้นที่ตำบลนาชะอัง
พื้นที่ตำบลนาชะอัง
การบริหารจัดการแปลงเกษตร
การบริหารจัดการแปลงเกษตร

กลุ่มนาชะอัง

การจัดการระบบนิเวศพื้นที่ควน
การจัดการระบบนิเวศพื้นที่ควน

ต.วังใหญ่ อ.เทพา จ.สงขลา่

บทเรียนการปรับตัวของเกษตรกร

ตัวอย่างเกษตรกรจาก 12 ตำบล

“ทำเกษตรต้องทำทุกวัน
ไม่ขยัน ก็ไม่ได้กิน” ยายกล่าว

บุญเพ่ง คำไกร(ยายจอม)
บุญเพ่ง คำไกร(ยายจอม) วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์ ชุมชนบุพราหมณ์ อ. นาดี จ.ปราจีนบุรี

ปรับตัวรับมือภัยแล้ง ด้วยการจัดการระบบน้ำในที่นาและปลูกพืชผสมผสาน

ทองม้วน โลกาวี(พ่อม้วน)
ทองม้วน โลกาวี(พ่อม้วน) บ้านโคกกลาง ต.เพ็กใหญ่ อ.พล จ.ขอนแก่น

พี่จ๋า เป็นหนึ่งในเกษตรกรชาวสวนยางภาคใต้ที่ลุกขึ้นมาเรียนรู้ มีวิธีการปรับตัว และรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ณฐา ชัยเพชร
ณฐา ชัยเพชร เกษตรกรชาวสวนยาง อ.เทพา จ.สงขลา

ความรู้

บทเรียนที่ผ่านมา